ออกกำลังกายเพื่อพัฒนาการทรงตัว

เช่น โยคะ ไทชิ ฝึกการทรงตัว ฝึกเดินต่อเท้า เป็นต้น เป็นประโยชน์สำหรับผู้สูงอายุเพื่อป้องกันการหกล้ม
การล้มเป็นความเสี่ยงต่อผู้สูงอายุ เนื่องจากผู้สูงอายุมีการทรงตัวและความแข็งแรงของกระดูกลดลง จึงทำให้การล้มเป็นอันตรายอย่างยิ่งต่อผู้สูงอายุซี่งอาจทำให้เสียชีวิตได้ ดังนั้นการออกกำลังกายเพื่อป้องกันการล้มจึงเป็นสิ่งสำคัญอย่างยิ่ง
การฝึกการทรงตัว (Balance) มี 2 รูปแบบ ได้แก่ Static balance และ Dynamic balance มีเป้าหมายในการให้ระบบกล้ามเนื้อ ระบบรับสัมผัส และระบบกลไกประสาททำงานประสานกัน
1. Static Balance เน้นฝึกความสามารถในการควบคุมร่างกายขณะยืน เช่น การยืนขาเดียว การยืนหลับตาเป็นต้น

2. Dynamic Balance เน้นฝึกความสามารถของร่างกาย เมื่อร่างกายมีการเคลื่อนไหว หรือมีการเปลี่ยนแปลงทิศทางการเคลื่อนไหว เช่น การเดินต่อเท้า การเดินขึ้น-ลง หรือรอบสิ่งของ เป็นต้น
เรียบเรียงจาก หนังสือ รู้-เฒ่า-ทัน-สุข
ผู้เขียน : นายกฤษณะ นิลสาย และนางสาวจุฑารัตน์ ภัทรเกษวิทย์  
นักวิทยาศาสตร์การกีฬา คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี   
การออกกำลังกายเพื่อพัฒนาความยืดหยุ่น
การยืดเหยียดกล้ามเนื้อสามารถทำได้ทุกวัน ทุกหนึ่งชั่วโมง สำหรับผู้ที่นั่งทำงานนาน ๆ ...
การประเมินความหนักของการออกกำลังกาย
ออกกำลังกายต้อง “ไม่หักโหม” อยากรู้ว่าหักโหมไปหรือไม่มาทดสอบกัน
บทความอื่นที่น่าสนใจ
วันวาน ณ ปัจจุบัน
การดูแลผู้ป่วยคาสายสวนปัสสาวะที่บ้าน
เมื่อผู้ป่วยต้องใส่สายสวนปัสสาวะ ...
การออกกำลังกายสำหรับผู้ป่วยโรคกระดูกพรุน (Osteoporosis)
ผู้ป่วยโรคกระดูกพรุนอาจมีข้อจำกัดในการออกกำลังกาย ...
โรคความดันโลหิตสูง
โปรดอย่านิ่งนอนใจ !! ความดันโลหิตสูง…หากไม่ทำการรักษา อาจทำให้เกิด ...
Caregiver Connect
 
© Geriatrics Medicine, Faculty of Medicine Ramathibodi Hospital, Mahidol University. All Rights Reserved.