การประเมินความหนักของการออกกำลังกาย

เราสามารถประเมินความหนักของการออกกำลังกายได้ดังนี้
1. การประเมินด้วยการพูดคุย (Talk Test)
ออกกำลังกายอย่างหนัก - ไม่สามารถพูดโต้ตอบได้อย่างปกติ
ออกกำลังกายปานกลาง - สามารพูดโต้ตอบได้ แต่ไม่เป็นประโยคที่สมบูรณ์
ออกกำลังกายเบา - สามารถพูดโต้ตอบ ขณะออกกำลังกายได้


2. การคำนวณอัตราการเต้นหัวใจขณะออกกำลังกาย
● อัตราการเต้นหัวใจสูงสุด = 220 – อายุ
● ความหนักของการออกกำลังกายที่เหมาะสม = 60-80% ของอัตราการเต้นของหัวใจขณะพัก
ตัวอย่าง
หญิงคนหนึ่งอายุ 75 ปี ชีพจรขณะพัก 70 ครั้ง/นาที
คิดความหนักของการออกกำลังกาย 60% = 0.6
= [ (220 – 75) – 70] x 0.6 70
= (145 – 70) x 0.6 70
= (75 x 0.6) 70
= 115 ครั้ง/นาที
อัตราการเต้นหัวใจที่เหมาะสมขณะออกกำลังกาย = 115 ครั้ง/นาที
● อัตราการเต้นหัวใจสูงสุด = 220 – อายุ
● ความหนักของการออกกำลังกายที่เหมาะสม = 60-80% ของอัตราการเต้นของหัวใจขณะพัก
ตัวอย่าง
หญิงคนหนึ่งอายุ 75 ปี ชีพจรขณะพัก 70 ครั้ง/นาที
คิดความหนักของการออกกำลังกาย 60% = 0.6
= [ (220 – 75) – 70] x 0.6 70
= (145 – 70) x 0.6 70
= (75 x 0.6) 70
= 115 ครั้ง/นาที
อัตราการเต้นหัวใจที่เหมาะสมขณะออกกำลังกาย = 115 ครั้ง/นาที
เรียบเรียงจาก หนังสือ รู้-เฒ่า-ทัน-สุข
ผู้เขียน : นายกฤษณะ นิลสาย และนางสาวจุฑารัตน์ ภัทรเกษวิทย์
นักวิทยาศาสตร์การกีฬา คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี
ผู้เขียน : นายกฤษณะ นิลสาย และนางสาวจุฑารัตน์ ภัทรเกษวิทย์
นักวิทยาศาสตร์การกีฬา คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี
บทความที่เกี่ยวข้อง