การออกกำลังกายสำหรับผู้ป่วยโรคข้อเสื่อม

ผู้ป่วยโรคข้อเสื่อมต้องอุ่นร่างกาย และ cool down อย่างเพียงพอ เพื่อลดอาการปวด ควรเลือกสวมใส่รองเท้าที่สามารถลดแรงกระแทกได้อย่างดี และหลังจากการออกกำลังกายแต่ละครั้ง หากมีอาการปวดนานกว่า 2 ชั่วโมง อาจปรับลดเวลาและความหนักในการออกกำลังกายครั้งต่อไป 
ทั้งนี้อาจเลือกการออกกำลังกายหลังทานยาระหว่างช่วงเวลาที่ยาออกฤทธิ์สูงสุด
เรียบเรียงจาก หนังสือ รู้-เฒ่า-ทัน-สุข
ผู้เขียน : นายกฤษณะ นิลสาย และนางสาวจุฑารัตน์ ภัทรเกษวิทย์  
นักวิทยาศาสตร์การกีฬา คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี   
การออกกำลังกายสำหรับผู้มีภาวะน้ำหนักเกินและโรคอ้วนลงพุง (Overweight and obesity)
การควบคุมน้ำหนัก ควรออกกำลังกายให้ได้ 150 นาที/สัปดาห์ และมีการออกกำลังกายทุกวัน
การออกกำลังกายสำหรับผู้ป่วยโรคกระดูกพรุน (Osteoporosis)
ผู้ป่วยโรคกระดูกพรุนอาจมีข้อจำกัดในการออกกำลังกาย แต่เลือกออกกำลังกายประเภทที่เหมาะสม
บทความอื่นที่น่าสนใจ
การดูดเสมหะในปาก
การดูดเสมหะเป็นการขจัดน้ำลายหรือเสมหะซึ่งกีดขวางทางเดินหายใจของผู้ที่มีเสมหะมากและไอเอาออกมาเองได้ไม่ดีนัก
การป้องกันการเกิดแผลกดทับ
ผู้มีภาวะสมองเสื่อมนอนติดเตียง มักจะเคลื่อนไหวไม่ได้ ...
เตรียมปรับสภาพแวดล้อมก่อนถึงวัยสูงอายุ
“บ้าน” ไม่ใช่แค่ที่นอนแล้วตื่นมาออกไปทำงาน สำหรับหลาย ๆ คน ...
วันวาน ณ ปัจจุบัน
Caregiver Connect
 
© Geriatrics Medicine, Faculty of Medicine Ramathibodi Hospital, Mahidol University. All Rights Reserved.