การประเมินความหนักของการออกกำลังกาย

เราสามารถประเมินความหนักของการออกกำลังกายได้ดังนี้

1.  การประเมินด้วยการพูดคุย (Talk Test)


ออกกำลังกายอย่างหนัก - ไม่สามารถพูดโต้ตอบได้อย่างปกติ
ออกกำลังกายปานกลาง - สามารพูดโต้ตอบได้ แต่ไม่เป็นประโยคที่สมบูรณ์
ออกกำลังกายเบา   -  สามารถพูดโต้ตอบ ขณะออกกำลังกายได้
2. การคำนวณอัตราการเต้นหัวใจขณะออกกำลังกาย
● อัตราการเต้นหัวใจสูงสุด = 220 – อายุ
● ความหนักของการออกกำลังกายที่เหมาะสม = 60-80% ของอัตราการเต้นของหัวใจขณะพัก


ตัวอย่าง
หญิงคนหนึ่งอายุ 75 ปี ชีพจรขณะพัก 70 ครั้ง/นาที
คิดความหนักของการออกกำลังกาย 60% = 0.6
=  [ (220 – 75) – 70] x 0.6 70
=  (145 – 70) x 0.6 70
=  (75 x 0.6) 70
=  115 ครั้ง/นาที


อัตราการเต้นหัวใจที่เหมาะสมขณะออกกำลังกาย = 115 ครั้ง/นาที
เรียบเรียงจาก หนังสือ รู้-เฒ่า-ทัน-สุข
ผู้เขียน : นายกฤษณะ นิลสาย และนางสาวจุฑารัตน์ ภัทรเกษวิทย์  
นักวิทยาศาสตร์การกีฬา คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี   
ออกกำลังกายเพื่อพัฒนาการทรงตัว
เช่น โยคะ ไทชิ ฝึกการทรงตัว ฝึกเดินต่อเท้า เป็นต้น เป็นประโยชน์สำหรับผู้สูงอายุเพื่อป้องกันการหกล้ม
การออกกำลังกายสำหรับโรคหัวใจ
โรคหัวใจก็ออกกำลังกายได้ เพียงแต่ต้องเลือกให้เหมาะสมกับข้อจำกัดของร่างกายแต่ละคน
บทความอื่นที่น่าสนใจ
วิธีผ่อนคลายจิตใจ
ผู้ดูแลได้พักผ่อนพอเพียง จิตใจสบาย อารมณ์จะดีขึ้น ...
สุขภาพช่องปาก
เมื่อผู้มีภาวะสมองเสื่อมมีสุขภาพช่องปากที่ดี กินข้าวได้อร่อย ...
ทำอย่างไรให้ผู้สูงอายุมีอนามัยช่องปากที่ดี
การดูแลผู้สูงอายุให้มีอนามัยช่องปากที่ดี ...
หวานไปก็อ่อนหวานได้
ถ้าเราเป็นเบาหวานแล้ว ไม่ต้องกลัว ต้องดูแลรูปร่างไม่ให้อ้วน ...
Caregiver Connect
 
© Geriatrics Medicine, Faculty of Medicine Ramathibodi Hospital, Mahidol University. All Rights Reserved.