การออกกำลังกายสำหรับผู้มีภาวะสมองเสื่อม
ออกกำลังกายแบบแอโรบิค
เช่น การเดิน การย่ำเท้าอยู่กับที่
- ป้องกันภาวะสมองเสื่อม
- ช่วยชะลอความเสื่อมของตัวโรค
- ทำต่อเนื่องอย่างน้อย 15 – 20 นาที/วัน และพัฒนาให้ได้ 40 – 60 นาที/วัน
เช่น การเดิน การย่ำเท้าอยู่กับที่
- ป้องกันภาวะสมองเสื่อม
- ช่วยชะลอความเสื่อมของตัวโรค
- ทำต่อเนื่องอย่างน้อย 15 – 20 นาที/วัน และพัฒนาให้ได้ 40 – 60 นาที/วัน
ออกกำลังกายแบบ Resistance exercise
ควรใช้ยางยืด
- ป้องกันภาวะสมองเสื่อม
- ช่วยชะลอความเสื่อมของตัวโรค
- ทำประมาณ 10 – 12 ครั้ง/กลุ่มกล้ามเนื้อ
- พัฒนากล้ามเนื้อส่วนที่จำเป็นและอ่อนแอก่อน เช่น กล้ามเนื้อต้นขาด้านหน้า กล้ามเนื้อต้นขาด้านหลัง
ควรใช้ยางยืด
- ป้องกันภาวะสมองเสื่อม
- ช่วยชะลอความเสื่อมของตัวโรค
- ทำประมาณ 10 – 12 ครั้ง/กลุ่มกล้ามเนื้อ
- พัฒนากล้ามเนื้อส่วนที่จำเป็นและอ่อนแอก่อน เช่น กล้ามเนื้อต้นขาด้านหน้า กล้ามเนื้อต้นขาด้านหลัง
เรียบเรียงจาก หนังสือ รู้-เฒ่า-ทัน-สุข
ผู้เขียน : นายกฤษณะ นิลสาย และนางสาวจุฑารัตน์ ภัทรเกษวิทย์
นักวิทยาศาสตร์การกีฬา คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี
ผู้เขียน : นายกฤษณะ นิลสาย และนางสาวจุฑารัตน์ ภัทรเกษวิทย์
นักวิทยาศาสตร์การกีฬา คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี
บทความที่เกี่ยวข้อง
กายพร้อม
การออกกำลังกายสำหรับผู้มีภาวะความดันโลหิตสูง
ผู้สูงอายุที่มีภาวะความดันโลหิตสูง ควรหลีกเลี่ยงการกลั้นหายใจขณะออกกำลังกายด้วยแรงต้าน ...