การออกกำลังกายสำหรับผู้มีภาวะสมองเสื่อม

ออกกำลังกายแบบแอโรบิค
เช่น การเดิน การย่ำเท้าอยู่กับที่
- ป้องกันภาวะสมองเสื่อม
- ช่วยชะลอความเสื่อมของตัวโรค
- ทำต่อเนื่องอย่างน้อย 15 – 20 นาที/วัน  และพัฒนาให้ได้ 40 – 60 นาที/วัน
ออกกำลังกายแบบ Resistance exercise 
ควรใช้ยางยืด
- ป้องกันภาวะสมองเสื่อม 
- ช่วยชะลอความเสื่อมของตัวโรค
- ทำประมาณ 10 – 12 ครั้ง/กลุ่มกล้ามเนื้อ
- พัฒนากล้ามเนื้อส่วนที่จำเป็นและอ่อนแอก่อน เช่น กล้ามเนื้อต้นขาด้านหน้า กล้ามเนื้อต้นขาด้านหลัง                 
เรียบเรียงจาก หนังสือ รู้-เฒ่า-ทัน-สุข
ผู้เขียน : นายกฤษณะ นิลสาย และนางสาวจุฑารัตน์ ภัทรเกษวิทย์  
นักวิทยาศาสตร์การกีฬา คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี   
การออกกำลังกายสำหรับผู้มีภาวะความดันโลหิตสูง
ผู้สูงอายุที่มีภาวะความดันโลหิตสูง ควรหลีกเลี่ยงการกลั้นหายใจขณะออกกำลังกายด้วยแรงต้าน ...
การออกกำลังกายสำหรับผู้มีภาวะน้ำหนักเกินและโรคอ้วนลงพุง (Overweight and obesity)
การควบคุมน้ำหนัก ควรออกกำลังกายให้ได้ 150 นาที/สัปดาห์ และมีการออกกำลังกายทุกวัน
บทความอื่นที่น่าสนใจ
พินัยกรรมชีวิต
การวางแผนเตรียมการล่วงหน้าในเรื่องต่าง ๆ มีประโยชน์ ...
โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง NCDs เกิดจากอะไรบ้าง
กลุ่มโรคไม่ติดต่อส่วนใหญ่เป็นผลมาจากพฤติกรรมการกิน และการใช้ชีวิต
อุปกรณ์การดูแลแผลกดทับ
การดูแลแผลกดทับ ใช้อุปกรณ์ที่ต่างกันตามระดับแผลกดทับ ...
แหล่งซื้ออุปกรณ์การดูแลผู้ป่วย
Caregiver Connect
 
© Geriatrics Medicine, Faculty of Medicine Ramathibodi Hospital, Mahidol University. All Rights Reserved.