ปัจจัยที่ต้องคำนึงถึงเมื่อเกิดความเครียด

วัยสูงอายุ เป็นวัยของการเปลี่ยนแปลงทั้งทางกายและใจ หากผู้สูงอายุไม่สามารถปรับตัวได้ ก็อาจพบปัญหาสุขภาพจิต ซึ่งปัญหาที่พบบ่อย เช่น  ความวิตกกังวล โรคซึมเศร้า ปัญหานอนไม่หลับ ภาวะสมองเสื่อม เป็นต้น
ความเครียดเป็นเรื่องที่สำคัญที่ควรทำความเข้าใจเพราะพบได้บ่อยในชีวิตประจำวัน แล้วความเครียด คืออะไร

ความเครียด คืออะไรก็ตามที่ทำให้ “รู้สึกกดดัน” ทำให้อารมณ์และจิตใจเปลี่ยนแปลงไป และแต่ละคนมีปัญหาไม่เหมือนกัน การจัดการกับความเครียดขึ้นอยู่กับ “การปรับตัว” ตัวอย่าง เช่น บางคนเจอปัญหาที่มีความเครียดสูงมากแต่ปรับตัวได้ดี ก็จะมีโอกาสป่วยต่ำ แต่บางคนเจอปัญหาเพียงเล็กน้อยแต่ปรับตัวได้ไม่ดี ก็เจ็บป่วยง่าย
ปัจจัยที่ต้องคำนึงถึงเมื่อเกิดความเครียด
1. ปัจจัยนำ
2. ปัจจัยกระตุ้น
3. ปัจจัยสนับสนุนให้คงอยู่
4. ปัจจัยป้องกัน
เรียบเรียงจาก หนังสือ รู้-เฒ่า-ทัน-สุข
ผู้เขียน : ผศ.พญ.ภาพันธ์ ไทยพิสุทธิกุล
ภาควิชาจิตเวชศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี
ตัวอย่างตารางการใช้ชีวิตประจำวันและการออกกำลังกาย
แนะนำการออกกำลังกายสำหรับผู้สูงอายุในแต่ละสัปดาห์
โรคซึมเศร้าในผู้สูงอายุ
โรคซึมเศร้าจะเป็นโรคที่พบบ่อยว่าในผู้สูงอายุ เมื่อเทียบกับวัยเด็ก วัยรุ่น หรือวัยทำงาน ...
บทความอื่นที่น่าสนใจ
ภาวะกลืนลำบากในผู้ป่วยสมองเสื่อม
ในสมองของผู้มีภาวะสมองเสื่อม ...
การดูดเสมหะในปาก
การดูดเสมหะเป็นการขจัดน้ำลายหรือเสมหะซึ่งกีดขวางทางเดินหายใจของผู้ที่มีเสมหะมากและไอเอาออกมาเองได้ไม่ดีนัก
สมองเสื่อมจากหลอดเลือดสมอง
ผู้มีความเสี่ยงสมองเสื่อมจากสมองขาดเลือด ได้แก่ ...
น่ารู้เกี่ยวกับคาร์โบไฮเดรต
คาร์โบไฮเดรตเป็นสารอาหารที่มีมากในอาหารหมู่ที่ 2 ข้าว เผือก มัน ...
Caregiver Connect
 
© Geriatrics Medicine, Faculty of Medicine Ramathibodi Hospital, Mahidol University. All Rights Reserved.